หลักสูตรบัญชีบัณฑิต

หลักสูตร 4 ปี ภาคปกติ

หลักสูตรบัญชีบัณฑิต
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)

 

ชื่อหลักสูตร  
ชื่อภาษาไทย หลักสูตรบัญชีบัณฑิต
ชื่อภาษาอังกฤษ Bachelor of Accountancy Program
   
ชื่อปริญญา  
ชื่อเต็มภาษาไทย บัญชีบัณฑิต
ชื่อย่อภาษาไทย บช.บ.
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ Bachelor of Accountancy
ชื่อย่อภาษาอังกฤษ B.Acc.
   
จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
135 หน่วยกิต
   
รูปแบบของหลักสูตร
หลักสูตร ปริญญาตรี 4 ปี ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการบัญชี พ.ศ. 2562 และเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2558 
   
พื้นที่จัดการเรียนการสอน
บพิตรพิมุข จักรวรรดิ,  ศาลายา,  วิทยาเขตวังไกลกังวล
โครงสร้างหลักสูตร
จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร              135  หน่วยกิต
   1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   32  หน่วยกิต
       1.1 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์     3  หน่วยกิต
       1.2 กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์     6  หน่วยกิต
       1.3 กลุ่มวิชาภาษา     9  หน่วยกิต
       1.4 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์   12  หน่วยกิต
       1.5 กลุ่มวิชาพลศึกษาและนันทนาการ     2  หน่วยกิต
   2. หมวดวิชาเฉพาะ                                            97  หน่วยกิต
       2.1 กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพ   36  หน่วยกิต
       2.2 กลุ่มวิชาชีพบังคับ   39  หน่วยกิต
       2.3 กลุ่มวิชาชีพเลือก   22  หน่วยกิต
            2.3.1 แผนการศึกษา (ฝึกงาน)  
                      - วิชาชีพเลือก   18  หน่วยกิต
                      - วิชาการฝึกงานทางการบัญชี     4  หน่วยกิต
            2.3.2 แผนการศึกษา (สหกิจศึกษา)  
                      - วิชาชีพเลือก   15  หน่วยกิต
                      - วิชาสหกิจศึกษาทางการบัญชี     7  หน่วยกิต
   3. หมวดวิชาเลือกเสรี            6  หน่วยกิต

รายวิชา
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 32 หน่วยกิต
1.1 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ เลือกศึกษาจากรายวิชาต่อไปนี้ 3 หน่วยกิต
HUM 1006 ตรรกวิทยาเบื้องต้น Introduction to Logic
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
HUM 1015 จิตวิทยาองค์การ Organizational Psychology
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
HUM 1016 เทคนิคการพัฒนาบุคลิกภาพ Personality Development Techniques
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
หรือเลือกศึกษารายวิชาอื่น ๆ ที่ระบุในเอกสารหลักสูตรหมวดวิชาศึกษาทั่วไป
     
1.2 กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ เลือกศึกษาจากรายวิชาต่อไปนี้ 6 หน่วยกิต
SOC 1021 หน้าที่พลเมืองและศีลธรรม Civic Duty and Morality
คำอธิบายรายวิชา
3(2-2-5)
SOC 1023 ทักษะชีวิตของสังคม Social Life Skills
คำอธิบายรายวิชา
3(2-2-5)
SOC 2001 มนุษยสัมพันธ์ Human Relations
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
SOC 2003 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม Development of Life Quality and Society
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
หรือเลือกศึกษารายวิชาอื่น ๆ ที่ระบุในเอกสารหลักสูตรหมวดวิชาศึกษาทั่วไป
     
1.3 กลุ่มวิชาภาษา เลือกศึกษาจากรายวิชาต่อไปนี้ 9 หน่วยกิต
ENL 1001 ภาษาอังกฤษทั่วไป General English
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
ENL 1002 ภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพในศตวรรษที่ 21 English for Career in the 21th Century
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
ENL 1003 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในยุคดิจิทัล English for Digital Communication
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
ENL 1005 ภาษาอังกฤษเพื่อการสนทนาเชิงโต้ตอบ English for Interactive Conversation
คำอธิบายรายวิชา
3(2-2-5)
ENL 1007 การอ่านภาษาอังกฤษในโลกยุคใหม่ English Reading in Modern World
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
THA 1003 การพูดและการเขียนเชิงวิชาชีพ Speaking and Writing for Careers
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
THA 1009 การเขียนรายงานทางวิชาชีพ Professional Report Writing
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
THA 1014 ภาษาไทยเพื่อการท่องเที่ยว Thai for Tourism
คำอธิบายรายวิชา
3(2-2-5)
หรือเลือกศึกษารายวิชาอื่น ๆ ที่ระบุในเอกสารหลักสูตรหมวดวิชาศึกษาทั่วไป
     
1.4 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ เลือกศึกษาจากรายวิชาต่อไปนี้ 12 หน่วยกิต
MTH 1016 สถิติทั่วไป General Statistics
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
MTH 1017 คณิตศาสตร์ทั่วไป General Mathematics
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
MTH 1026 นวัตกรรมข้อมูลสู่ปัญญาประดิษฐ์ Innovation of Data towards Artificial Intelligence
คำอธิบายรายวิชา
3(2-2-5)
MTH 1029 ทักษะการรู้ดิจิทัล Digital Literacy Skills
คำอธิบายรายวิชา
3(2-2-5)
SCI 1021 สิ่งแวดล้อมและการบริหารทรัพยากร Environment and Resources Administration
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
SCI 1023 วิทยาศาสตร์ในชีวิตประจำวัน Science in Daily Use
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
SCI 1028 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม Life and Environment
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
SCI 1035 นวัตกรรมและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน Innovation and Development of Community Product
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
หรือเลือกศึกษารายวิชาอื่น ๆ ที่ระบุในเอกสารหลักสูตรหมวดวิชาศึกษาทั่วไป
     
1.5 กลุ่มวิชาพลศึกษาและนันทนาการ ให้เลือกศึกษาจากรายวิชาต่อไปนี้ 2 หน่วยกิต
PED 1030 พลศึกษาเพื่อคุณภาพชีวิต Physical Education for Quality of Life
คำอธิบายรายวิชา
1(0-2-1)
PED 1032 ลีลาศ Social Dance
คำอธิบายรายวิชา
1(0-2-1)
PED 1033 กิจกรรมเข้าจังหวะ Rhythmic Activities
คำอธิบายรายวิชา
1(0-2-1)
REC 1007 นันทนาการเพื่อคุณภาพชีวิต Recreation for Quality of Life
คำอธิบายรายวิชา
1(0-2-1)
หรือเลือกศึกษารายวิชาอื่น ๆ ที่ระบุในเอกสารหลักสูตรหมวดวิชาศึกษาทั่วไป
     
2. หมวดวิชาเฉพาะ 97 หน่วยกิต
2.1 กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพ ให้ศึกษาจากรายวิชาต่อไปนี้ 36 หน่วยกิต
BUA 1101 กฎหมายธุรกิจ Business Law
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
BUA 1105 หลักการจัดการ Principles of Management
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
BUA 1133 หลักเศรษฐศาสตร์ Principles of Economics
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
BUA 1144 หลักการตลาด Principles of Marketing
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
BUA 2134 การเงินธุรกิจ Business Finance
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
BUA 2135 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารธุรกิจ English for Business Communication
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
BUA 2136 การวิเคราะห์เชิงสถิติทางธุรกิจ Statistical Analysis in Business
คำอธิบายรายวิชา
3(2-2-5)
BUA 2138 การฟังและการพูดภาษาอังกฤษทางธุรกิจ Listening and Speaking in Business English
คำอธิบายรายวิชา
3(2-2-5)
BUA 2144 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการ Management Information Technology
คำอธิบายรายวิชา
3(2-2-5)
BUA 3131 การจัดการเชิงกลยุทธ์ Strategic Management
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
BUA 3142 การวิเคราะห์เชิงปริมาณทางธุรกิจ Quantitative Analysis for Business
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
BUA 4139 การเป็นผู้ประกอบการเพื่อสร้างธุรกิจใหม่* Entrepreneurship for New Venture Creation
คำอธิบายรายวิชา
3(2-2-5)
* เป็นรายวิชาตามอัตลักษณ์ของหลักสูตรบัญชีบัณฑิต
     
2.2 กลุ่มวิชาชีพบังคับ ให้ศึกษาจากรายวิชาดังต่อไปนี้ 39 หน่วยกิต
ACC 1225 การบัญชีชั้นต้น 1 Introduction to Accounting 1
คำอธิบายรายวิชา
3(2-2-5)
ACC 2227 การภาษีอากร 1 Taxation 1
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
ACC 2228 การบัญชีชั้นกลาง 1 Intermediate Accounting 1
คำอธิบายรายวิชา
3(2-2-5)
ACC 2229 การบัญชีชั้นกลาง 2 Intermediate Accounting 2
คำอธิบายรายวิชา
3(2-2-5)
ACC 3218 การบัญชีต้นทุน Cost Accounting
คำอธิบายรายวิชา
3(2-2-5)
ACC 3230 ระบบสารสนเทศทางการบัญชี Accounting Information Systems
คำอธิบายรายวิชา
3(2-2-5)
ACC 3231 การสอบบัญชีและการให้ความเชื่อมั่น Auditing and Assurance
คำอธิบายรายวิชา
3(2-2-5)
ACC 3232 การบัญชีบริหาร Managerial Accounting
คำอธิบายรายวิชา
3(2-2-5)
ACC 3233 รายงานการเงินและการวิเคราะห์ Financial Reporting and Analysis
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
ACC 3234 การภาษีอากร 2 Taxation 2
คำอธิบายรายวิชา
3(2-2-5)
ACC 3235 การบัญชีชั้นสูง 1 Advanced Accounting 1
คำอธิบายรายวิชา
3(2-2-5)
ACC 3236 การบัญชีชั้นสูง 2 Advanced Accounting 2
คำอธิบายรายวิชา
3(2-2-5)
ACC 3237 การควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน Internal Control and Internal Audit
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
     
2.3 กลุ่มวิชาชีพเลือก เลือกศึกษาจากรายวิชาต่อไปนี้ 22 หน่วยกิต
วิชาชีพเลือก 22 หน่วยกิต ให้เลือกวิชาสัมมนาบัญชี 3 หน่วยกิต และให้เลือกวิชาที่เป็น อัตลักษณ์ของสาขาวิชาจำนวน 10 หน่วยกิต ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มวิชาฝึกงาน หรือกลุ่มวิชาสหกิจศึกษากลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ในกลุ่มวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้เลือกรายวิชาการใช้เทคโนโลยีเพื่องานบัญชี กลุ่มวิชาอื่น ๆ ให้เลือกรายวิชากรณีศึกษาทางธุรกิจและการบัญชี สำหรับหน่วยกิตที่เหลือให้เลือกศึกษาจากกลุ่มวิชาชีพเลือกในข้อ 2.3.3 - 2.3.9 หรือกลุ่มวิชาชีพของสาขาวิชาอื่นในคณะบริหารธุรกิจ
 
2.3.1 กลุ่มวิชาการฝึกงาน 4 หน่วยกิต
ACC 3344 การเตรียมการฝึกงานและสหกิจศึกษาทางการบัญชี* Preparation for Internship and Cooperative Education in Accounting
คำอธิบายรายวิชา
1(0-2-1)
ACC 3345 การฝึกงานทางการบัญชี* Internship in Accounting
คำอธิบายรายวิชา
3(0-40-0)
     
2.3.2 กลุ่มวิชาสหกิจศึกษา 7 หน่วยกิต
ACC 3344 การเตรียมการฝึกงานและสหกิจศึกษาทางการบัญชี* Preparation for Internship and Cooperative Education in Accounting
คำอธิบายรายวิชา
1(0-2-1)
ACC 4346 สหกิจศึกษาทางการบัญชี* Cooperative Education in Accounting
คำอธิบายรายวิชา
6(0-40-0)
* รายวิชาตามอัตลักษณ์ของหลักสูตรบัญชีบัณฑิต
หมายเหตุ กรณีไม่สามารถลงทะเบียนเรียนวิชาสหกิจศึกษาทางการบัญชี ซึ่งเป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ว่าด้วยการจัดระบบสหกิจศึกษา พ.ศ. 2559 หรือมติของคณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร
     
2.3.3 กลุ่มวิชาการบัญชีการเงิน
ACC 1347 การบัญชีชั้นต้น 2 Introduction to Accounting 2
คำอธิบายรายวิชา
3(2-2-5)
ACC 2323 การบัญชีหน่วยงานภาครัฐ Public Sector Accounting
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
ACC 2324 การบัญชีเฉพาะกิจการ Accounting for Specific Enterprises
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
ACC 3327 ระบบบัญชี Accounting Systems
คำอธิบายรายวิชา
3(2-2-5)
ACC 3348 ทฤษฎีการบัญชี Accounting Theory
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
ACC 3349 การบัญชีระหว่างประเทศ International Accounting
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
ACC 4350 สัมมนาการบัญชีการเงิน Seminar in Financial Accounting
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
     
2.3.4 กลุ่มวิชาการบัญชีบริหาร
ACC 3329 การวางแผนกำไรและการควบคุม Profit Planning and Control
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
ACC 3330 การบัญชีเพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อม Environmental Management Accounting
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
ACC 4331 สัมมนาการบัญชีบริหาร Seminar in Managerial Accounting
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
     
2.3.5 กลุ่มวิชาการสอบบัญชี
ACC 4332 สัมมนาการสอบบัญชี Seminar in Auditing
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
ACC 4333 สัมมนาการตรวจสอบภายใน Seminar in Internal Audi
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
ACC 4334 การตรวจสอบและควบคุมระบบสารสนเทศ Information System Audit and Control
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
ACC 4335 การบัญชีนิติเวช Forensic Accounting
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
     
2.3.6 กลุ่มวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ACC 3326 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่องานบัญชี* Information Technology in Accounting
คำอธิบายรายวิชา
3(2-2-5)
ACC 3336 การจัดการฐานข้อมูล Database Management
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
ACC 4337 การวิเคราะห์และการออกแบบระบบสารสนเทศทางการบัญชี Accounting Information System Analysis and Design
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
ACC 4338 สัมมนาเทคโนโลยีและระบบสารสนเทศทางการบัญชี Seminar in Accounting Information Systems and Technology
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
ACC 4339 การรักษาความปลอดภัยของระบบสารสนเทศและการควบคุม Information System Security and Control
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
ACC 4344 การประยุกต์โปรแกรมตารางงานเพื่องานบัญชี Application of Spread Sheet Program for Accounting
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
     
2.3.7 กลุ่มวิชาการภาษีอากร
ACC 4340 สัมมนาการภาษีอากร Seminar in Taxation
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
ACC 4341 การวางแผนภาษี Tax Planning
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
     
2.3.8 กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศสำหรับนักบัญชี
ACC 3353 ภาษามลายูเบื้องต้นสำหรับวิชาชีพบัญชี Basic Bahasa Melayu for Accounting Professions
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
ACC 3354 ภาษามลายูเพื่อการสื่อสารสำหรับนักบัญชี Bahasa Melayu for Communication for Accountants
คำอธิบายรายวิชา
3(2-2-5)
ACC 3355 การฟัง-พูดภาษาญี่ปุ่นสำหรับนักบัญชี Listening-Speaking in Japanese for Accounting
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
ACC 3356 ภาษาญี่ปุ่นสำหรับวิชาชีพบัญชี Japanese for Accounting Professions
คำอธิบายรายวิชา
3(2-2-5)
ACC 3357 ภาษาจีนธุรกิจพื้นฐานสำหรับนักบัญชี Basic Business Chinese for Accountants
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
ACC 3358 สนทนาภาษาจีนธุรกิจสำหรับนักบัญชี Business Chinese Conversation for Accountants
คำอธิบายรายวิชา
3(2-2-5)
ACC 3359 ภาษาฝรั่งเศสเบื้องต้นสำหรับนักบัญชี Fundamental French for Accountants
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
ACC 3360 สนทนาภาษาฝรั่งเศสสำหรับนักบัญชี French Conversation for Accountants
คำอธิบายรายวิชา
3(2-2-5)
ACC 3361 ภาษาเยอรมันเบื้องต้นสำหรับนักบัญชี Basic German for Accountants
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
ACC 3362 ภาษาเยอรมันเพื่อการสื่อสารสำหรับนักบัญชี German for Communication for Accountants
คำอธิบายรายวิชา
3(2-2-5)
     
2.3.9 กลุ่มวิชาอื่น ๆ
ACC 3352 กรณีศึกษาทางธุรกิจและการบัญชี* Business and Accounting Case Study
คำอธิบายรายวิชา
3(2-2-5)
ACC 4343 วิจัยทางการบัญชี Accounting Research and Methodology
คำอธิบายรายวิชา
3(3-0-6)
BUA 4337 ธุรกิจเพื่อสังคม Social Enterprise
คำอธิบายรายวิชา
3(2-2-5)
* รายวิชาตามอัตลักษณ์ของหลักสูตรบัญชีบัณฑิต
     
3. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต
ให้เลือกเรียนจากรายวิชาใด ๆ ที่เปิดสอนในสาขาวิชาการบัญชี แต่ต้องไม่ซ้ำกับรายวิชาในแผนการศึกษา หรืออาจเลือกเรียนรายวิชาอื่น ๆ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ หรือมหาวิทยาลัยอื่น และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิต โดยได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษา/หัวหน้าสาขาวิชา
แนวทางประกอบอาชีพ

ผู้สำเร็จการศึกษาสามารถประกอบวิชาชีพบัญชี ได้ตามพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 และพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547  และวิชาชีพอื่นที่เกี่ยวข้อง ทั้งในลักษณะการประกอบวิชาชีพอิสระ และการเข้าทำงานในองค์กรทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ดังต่อไปนี้

1.  ผู้ทำบัญชี
2.  ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
3.  ผู้สอบบัญชีภาษีอากร
4.  ผู้ตรวจสอบภายใน
5.  ผู้วางระบบบัญชีและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการบัญชี
6.  นักวิเคราะห์ต้นทุนและบัญชีบริหาร
7.  ที่ปรึกษาทางการเงินและบัญชี
8.  ครู อาจารย์ที่สอนวิชาบัญชีในสถานศึกษา
9.  อาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพบัญชี